ช่วยให้เรื่องบัญชีเป็นเรื่องง่าย เพียงแค่ปลายนิ้ว ติดต่อสั่งซื้อโปรแกรมโทร 08-3444-7676
มี 12 ระบบ ครบครันเรื่องบัญชี ไปตลอดจนระบบรักษาความปลอดภัย กำหนดผู้ใช้และเมนูที่ให้ทำงานได้
โปรแกรมออกแบบมาสำหรับประยุกต์ใช้งานกับกิจการได้ทุกประเภท ฟังก์ชั่นรองรับทั้งธุรกิจซื้อมา-ขายไป, ธุรกิจบริการ, ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง, ธุรกิจผลิต
ดูแลระบบบัญชี-ควบคู่ไปกับการดูแลต้นทุนได้ในโปรแกรมเดียว ใช้งานโปรแกรม Express สำหรับธุรกิจผลิต บริหารบัญชี วัตถุดิบ และต้นทุนการผลิตได้ในระบบเดียว พร้อมรองรับการแยกต้นทุนรายโปรเจกต์
ในยุคที่การแข่งขันด้านต้นทุนและความแม่นยำในการจัดการสินค้าคงคลังมีความสำคัญมากขึ้น
ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการผลิตต่างมองหาเครื่องมือที่จะช่วยให้การบริหารงานบัญชี และกระบวนการภายในเป็นระบบมากยิ่งขึ้น
หนึ่งในทางเลือกที่ตอบโจทย์และได้รับความนิยมจากผู้ประกอบการไทยคือ โปรแกรม Express ธุรกิจผลิต
โปรแกรมบัญชี Express เป็นซอฟต์แวร์บัญชีสำเร็จรูปที่ถูกออกแบบมาให้ครอบคลุมการใช้งานในหลายประเภทธุรกิจ
โดยเฉพาะธุรกิจด้านการผลิตที่มีความซับซ้อนในการคำนวณต้นทุน การควบคุมวัตถุดิบ และการจัดการสินค้าในระหว่างกระบวนการผลิต
ประยุกต์ใช้โปรแกรมบัญชี Express ธุรกิจผลิต
โทร. 08-3444-7676
บริษัทฯ เป็นตัวแทนจำหน่าย มีประสบการณ์มากกว่า 10 ปี ดังนั้นลูกค้าจึงมั่นใจได้ว่า ซื้อโปรแกรมกับบริษัทซีดีจี อินโนเวชั่น จำกัด คุ้มค่าแน่นอน
ระบบจัดซื้อและควบคุมวัตถุดิบ
ผู้ใช้งานสามารถบันทึกรายการสั่งซื้อวัตถุดิบ >> รับวัตถุดิบเข้าสต๊อก
มีเมนูสำหรับเบิกวัตถุดิบเข้างานผลิต เห็น Stock คงเหลือ แบบ Realtime
บัญชีตั้งเจ้าหนี้ให้แบบอัตโนมัติ เห็น Aging เจ้าหนี้ได้ทันที
รองรับบัญชีแยกประเภทตามหน้างาน
หากมีหลายสายการผลิต หรือหาย Job งาน สามารถไปสร้าง Jobงานเอาไว้ และบันทึกแยกบัญชีตามหน้างานหรือแผนกได้อย่างยืดหยุ่น ทำให้วิเคราะห์ต้นทุนได้ชัดเจน
5. บันทึกรับสินค้าสำเร็จรูปจากการผลิต
6. บันทึกรายได้และตั้งลูกหนี้
7. เห็นกำไร-ขาดทุนเมื่อออกเอกสารขาขาย หรือใบส่งสินค้า
ยกตัวอย่าง ต้นทุนค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เช่น ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง, ต้นทุนวัตถุดิบทางอ้อม, ค่าแรงทางตรง, ค่าแรงทางอ้อม, ค่าใช้จ่ายการผลิต
โดยปกติแล้วกิจการควรแยกค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับพนักงาน เป็นพนักงานในส่วนงานผลิต และพนักงานในส่วนงานอื่น เพื่อให้เห็นต้นทุนแรงงานที่ถูกต้องมากยิ่งขึ้น
2. กำหนดกลุ่มบัญชีสินค้า หรือ วัตถุดิบที่จะซื้อ หรือ นำเข้า
2. Define product or raw material account groups for purchasing or importing.
“กลุ่มบัญชีสินค้า” เป็นส่วนที่กำหนด เพื่อแยกการบันทึกบัญชีของสินค้าแต่ละประเภท ไม่ว่าจะเป็นสินค้าหรือวัตถุดิบ
3. กำหนดรายละเอียดทั่วไปของสินค้าคงเหลือ
3. Set up general information for inventory items.
4. กำหนดตตารางข้อมูลที่จำเป็น เช่น หมวดของสินค้า หน่วยนับ คลังสินค้า ระดับสินค้า
4. Define necessary data tables such as product categories, units of measurement, warehouses, and item levels.
5. เพิ่มรายละเอียดสินค้าสำเร็จรูป หรือ รายละเอียดของวัตถุดิบที่จะซื้อ (เมนู 4/2)
5. Add details of finished goods or raw materials to be purchased (Menu 4/2).
6. กำหนดรายละเอียดผู้จำหน่าย
6. Add detail of Supplier
7. กำหนดรายละเอียดลูกค้า
7. Add detail of customer
8. กำหนดรายละเอียดค่าใช้จ่ายต่าง ๆ / Set up various expense items.
1. Record the purchase of raw materials for production (Menu 1/2 or 1/4).
โปรแกรมจะบันทึกรายการ ลงในสมุดรายวัน รับรู้เป็นวัตถุดิบคงเหลือ ภาษีซื้อ (ถ้ามี) ไปพร้อมๆ กับการตั้งเจ้าหนี้
(ตัวอย่างในคลิปเป็นการบันทึกบัญชีแบบ Perpetual นะคะ Periodic จะเป็น Dr. ซื้อเฉย ๆ ไม่มีการรับรู้วัตถุดิบ)
The system will record the transaction in the journal by recognizing the raw material inventory and input VAT (if applicable), along with creating an accounts payable entry.
(The example shown in the video follows the Perpetual inventory method. For the Periodic method, the entry is simply debited to Purchases without recognizing inventory.)
2. เมื่อสโตร์เบิกวัตถุดิบออกไป ให้เข้าไปบันทึกเบิก การบันทึกเบิกวัตถุดิบในหน้านี้ ผู้ใช้งานอาจจะไปผูกสูตรผลิตไว้ที่สินค้าชุดก็ได้ เวลาเบิก ก็ให้เลือก รหัสสินค้าชุดแทน
2. When raw materials are issued from the store, users must record the issuance.
In this screen, users may link a Bill of Materials (BOM) to a product set. When issuing, simply select the product set code instead of individual raw materials.
โปรแกรมจะบันทึกรายการ ลงในสมุดรายวัน โดยทำการตัดยอดวัตถุดิบออกจากคลัง แล้วบันทึกมูลค่าต้นทุนของวัตถุดิบที่เบิกไป เข้า “งานระหว่างทำ”
(Periodic ไม่มีการบันทึกบัญชีค่ะ จะตัดแค่จำนวนเท่านั้น)
The system will record a journal entry by deducting the raw materials from inventory and transferring the cost value of the issued materials to “Work in Progress” (WIP).
(Under the Periodic method, no accounting entry is made—only the quantity is deducted.)
3. หลังสิ้นสุดกระบวนการผลิต แล้วได้สินค้าสำเร็จรูปมาแล้ว ให้ทำรับสินค้าสำเร็จรูป พร้อมกับใส่ต้นทุน (เอายอดมาจาก “งานระหว่างทำ” ใน Step 2 ค่ะ)
3. After the production process is completed and finished goods are ready, record the receipt of finished goods along with their cost, using the amount from “Work in Progress” (WIP) in Step 2.
โปรแกรมจะบันทึกรายการลงในสมุดรายวันให้ โดยล้างงานระหว่างทำออก (เช่นเดิมค่ะ Periodic รับเข้าแค่ตัวเลข ไม่มีการบันทึกบัญชี)
The system will automatically record a journal entry by clearing the Work in Progress (WIP) account.
(As before, under the Periodic method, only the quantity is updated—no accounting entry is made.)
4. รับรู้ยอดสต๊อกสินค้าพร้อม ๆ กับต้นทุนได้เลยทันที หลังการทำรับ (เมนู 4/2)
4. Inventory quantity and product cost are recognized immediately upon receiving the finished goods (Menu 4/2).
5. หากต้องการบันทึกปรับปรุงต้นทุน (ยกตัวอย่างค่าแรง) สามารถบันทึกและเลือก Lot สินค้าที่จะปรับปรุงได้ (เมนู 4/1/4/1 เพิ่ม-ลด ต้นทุนสินค้า)
5. To adjust product costs—such as adding labor—you can record the adjustment and specify the lot number of the affected product in Menu 4/1/4/1
(Increase/Decrease Product Cost).
โปรแกรมจะมองเห็นต้นทุนที่ปรับขึ้น และนำไปรวมคำนวณเป็นต้นทุนสินค้าให้อัตโนมัติ
The program automatically detects the adjusted cost and incorporates it into the final product cost calculation.